หน้าเว็บ

วันพุธที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2564

วันอังคารที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

สร้างกราฟแสดงผลเพื่อบอกระดับ

 สร้างกราฟแสดงผลเพื่อบอกระดับ Level

อุปกรณ์ใช้ทอลอง

1.ESP8266

2.จอ OLED

3.VR 10k

4.LED

บอร์ดทดลอง



วันอาทิตย์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

การใช้งานอัพโหลดโปรแกรมลงบอร์ด ESP8266v3 , DHT22, ต่อกับจอ OLED

การใช้งาน DHT22, ต่อกับจอ OLED, ESP8266v3

การใช้งานเบื้องต้นวัดค่าอุณหภูมิ และค่าความชื้น
อุปกรณ์การทดลอง
1.บอร์ด ESP8266v3
2.DHT22
3.จอ OLED 0.96'' 128x64



ภาพแสดงผลออกจอ OLED ค่าอุณหภูมิ, ความชื้น




แสดงภาพพื้นหลังสีดำ

วันศุกร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

 การใช้งาน ADC, PWM control LED Dimmer

ภาพการต่อใช้งาน


ภาพประกอบ IDE Mu code




  • บอร์ด ESP8266v3
  • หลอด LED
  • VR 10 k
  • IDE- MU
  • เขียนด้วยภาษา  python
# การใช้งาน ADC, PWM control LED Dimmer
from machine import Pin, PWM, ADC
import time

# กำหนดขา ใช้งาน PWM 
LED = PWM(Pin(5), freq=1000, duty=0)

pin_adc = 0
pot = ADC(pin_adc)# set ADC pin A0

duty = 0
while True:
    adc = pot.read() # adc เก็บค่า อนาล็อก ที่อ่านได้ 0-1024
    LED.duty(adc)#  ส่งค่าให้ duty() แสดง output LED
    time.sleep_ms(50)


วันพฤหัสบดีที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

ESP8266PWM basic Micropython


PWM basic Micropython

อุปกรณ์ใช้ทดลองโปรเจค
บอร์ด ESP8266v3
 หลอด LED
IDE Mu-Editor



  PWM basic Micropython

วันเสาร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

การใช้งาน Button_input_ESP8266

 

การใช้งาน Button_input_ESP8266

เขียนโค๊ด ด้วย python
ในโปรเจคนี้จะเป็นการกดติด ปล่อยดับ








การใช้งาน ESP 8266 สั่งงานรีเลย์เบื้องต้น

 การใช้งาน ESP 8266 สั่งงานรีเลย์เบื้องต้น

อปกรณ์ที่ใช้ทดลอง
1.บอร์ด ESP8266
2.บอร์ดโมดูล รีเลย์








Code basic



ติดตั้ง IDE 
Thonny https://thonny.org/
- Tools > Options > Interpreter > MicroPython (Generic) > Select COM PORT



การทำงานโค๊ดเบื้องต้น
# TEST1 relay coltrol

from machine import Pin  
import time

RLPIN = 2 # กำหนด output pin GPIO 2
relay = Pin(RLPIN, Pin.OUT)# กำหนดให้เป็นเอ้าพุทพิน ที่จะไปต่อกับรีเลย์

ON = 0
OFF = 1
 
def turn_on(): # สร้างฟังก์ชั่นสำหรับ เปิด 
    relay.value(ON)
    print("RELAY ON")
    
def trun_off(): # สร้างฟังก์ชั่นสำหรับ ปิด
    relay.value(OFF)
    print("RELAY OFF")
    
ทุกคนสามารถนำไปประยุกใช้ได้ โดยอาจจะเพิ่มเซนเซอร์เข้ามา
 เมื่อเซนเซอร์ทำงานให้สั่งรีเลย์เปิดเพียงแค่นำฟัง์ชั่นไปใช้ได้ง่ายนั่นเอง

สามารถติดตามเพิ่มเติม กดติดตาม

การใชงานฟังก์ชั่น PIC16F877 เบื้องต้น

 การใชงานฟังก์ชั่น PIC16F877 เบื้องต้น




วันเสาร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2564

วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2564

การสร้างนาฬิกาใช้ ESP8266ร่วมกับจอOLED

การสร้างนาฬิกาใช้ ESP8266ร่วมกับจอOLED
เขียนโปรแกรมนาฬิกาง่ายๆด้วย Micropythonm 



 

           ***    ตัวอย่างภาพและวีดีโอ    ***

ช่องยูทูป HS4QWC






การใช้งาน ESP 8266v3 ร่วมกับจอ OLED

 การใช้งาน ESP8266v3 จอ OLED แสดงผล ข้อความ

เขียนด้อชวย python

ขั้นต้นต้องอัพเฟรมแวร์ก่อนนะ

อัพเฟรมแวร์ ขั้นตอนการอัพ






โดยโปรเจคนี้จะใช้

1.บอร์ด ESP 8266 V3 Wi-Fi

2.จอ OLED 0.96 I2c

3.โปรแกรม   Thonny Python IDE


    การต่อสายจะใช้ ขา D1=SC , D2=SDA

ดูภาพประกอบ


เรีิ่มต้นการใช้งาน

เมื่อทำการติดตั้งอุปกรณืและโปรแกรมเสร็จให้ตรวจสอบแน่ใจว่าต่อสายให้ถูกต้อง แล้วทำการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Thonny Micropython IDE

***ขั้นตอนที่1***


วันพุธที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2564

ไมโครคอนโทรลเลอร์และคอมไพล์เลอร์

  ในปัจบันไมโครคอนโทรลเลอร์มีบทบาทมาก ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
และอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า จะมาพุดถึงตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ทุกวันนี้
ได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เราจำเป็นจึงต้อง เรียนรู้สิ่งใหม่ หรือ
โครงสร้าง การเขียนโปรแกรม และตระกูลต่างๆของไมโครคอนโทรลเลอร์

ไมโครคอนโทรลเลอร์มีตระกูลดังนี้

1. PIC (Peripheral Interface Controller)  พัฒนาโดยบริษัท  Miccrochip
2.MCS-51(Intel 8051)                          พัฒนาโดยบริษัท  Intel
3.AVR                                                  พัฒนาโดยบริษัท  Atmel
4.ARM                                                พัฒนาโดยบริษัท  ARM Limited

 คุณสมบัติของไมโครคอนโทรลเลอร์แต่ละตระกูล

1. PIC (Peripheral Interface Controller) มีข้อดีคือ ราคาถูกและฟังก์ชั่นการทำงานมากเป็นที่นิยมมีให้    เลือกหลายรูปแบบ

2.MCS-51(Intel 8051)





1. โปรแกรม CCS C Compiler ใช้สำหรับเขียนโปรแกรมให้กับไมโครคอนโทรลเลอร์ PIC

2. โปรแกรม Proteus   ใช้สำหรับจำลองการทำงานของโปรแกรม

การเขียนโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ และ สร้างวงจร ควบคุม รีเลย์ โดยใช้ Microcontroller PIC

 การเขียนโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ และ สร้างวงจร ควบคุม รีเลย์

โดยใช้ Microcontroller PIC และ ในบทความนี้จะใช้ IDE CCS C compiler

ดังตัวอย่างภาพที่1 จะใช้ prpteus ทดลองวงจร


ลำดับต่อไปเมื่อเราสร้างวงจรเสร็จแล้วมาเขียนโปรแกรมกันเลย...

ให้ติดตั้ง IDE CCS C compiler 

/* Progame SW1 ON RELAY1

BY HS4QWC 27/1/2021 

YOUTUBE : 4Qchannal */ 


code: https://github.com/hs4qwc/-Microcontroller-PIC-switch-on-Relay

วันพุธที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2563

ขั้นตอนการใช้งาน IFTT ให้แจ้งเตือนไลน์ร่วมกับ Google Sheet

    IFTT             ขั้นตอนการใช้งานให้แจ้งเตือนไลน์ร่วมกับ         Google  Sheet  

 

- ขั้นตอนการใช้งาน
  1. 1.สร้างฟอร์มใน google from ให้กำหนดเองว่าจะสร้างฟอร์มเกี่ยวกับเรื่องอะไร  จากนั้นให้คลิกไปที่หัวข้อการตอบกลับ สร้างสเปรสชีต 
  2. ไปที่ เว็บไซต์ IFTT หรือค้นหาใน google  เมื่อเข้าไปที่หน้าเว็บ IFTT ให้ ลงชื่อเข้าใช้ โดยใช้บัญชี google 
  3. สร้าง Create your own เลือก  If This  ให้ค้นหา google sheet  เลือกsheet ที่ต้องการหรือที่สร้างไว้สำหรับงานของโปรเจคนี้... ให้เลือก New Row Add เพื่อให้ทำงานทั้งแถวหรือส่งข้อมูลมาแบบ row
  4. ช่องกรอก1 (Enter the folder path...)ใส่ชื่อ sheet ที่สร้างไว้ใน google sheet  ใส่ในช่อง Enter part เช่น  ชื่อฟอร์ม -  ฟอร์มการแจ้งเตือน/ใส่'/' หลังชื่อฟอร์มด้วย ตามด้วยชื่อ sheet 
  5. ช่องกรอก2  (and enter the filename)ให้ใส่ชื่อ ฟอร์ม อย่างเดียว
  6. ช่องกรอก3 (Or copy and paste the spreadsheet URL)ใส ลิ้งค์หรือ URL ของ sheet
  7. ช่องกรอก4(Send message) กำหนด เลือกชื่อกลุ่มไลน์ ที่จะให้แจ้งเตือน
  8. ช่องกรอก5  Message คือ ส่วนข้อความที่จะแสดงในไลน์ สามารถแก้ไขได้
  9. ช่องกรอก6 Photo URL (optional) ใส่ลิ้งค์ ของภาพที่จะนำมาแสดงในไลน์
  10. เมื่อเกรอกข้อมูลเสร็จให้กดสิ้นสุดหรือบันทึกโครงการ และทดสอบ...
  • ตัวอย่างภาพประกอบ 





















by: hs4qwc
ขอคุณทุกท่านที่ติดตาม